Knowledge Basic MEP system on Autodesk Revit (Thai)

การใช้โปรแกรม Revit พื้นฐานสำหรับงานระบบในอาคาร (Thai Version)

Ratings 3.88 / 5.00
Knowledge Basic MEP system on Autodesk Revit (Thai)

What You Will Learn!

  • มีความรู้ แบบจำลองสารสนเทศอาคาร และการติดตั้งโปรแกรม
  • มีความรู้ การตั้งค่าเปิดโปรแกรมเบื้องต้น อธิบายคำสั่ง และการใช้งาน systems , insert , Annotate , Analyze, Collaborate ,View , Manage , Add in , modify Propertie
  • มีความรู้ งานระบบท่อ หัวจ่าย หัวสปริงเกอร์ การวาง การใช้คำสั่งเขียนท่อและอุปกรณ์ เบื้องต้น
  • มีความรู้ งานระบบไฟฟ้า การใช้คำสั่งวางอุปกรณ์ การเขียนท่อไฟ เคเบิ้ลเทร เบื้องต้น
  • ลิ้งโมเดล ตรวจสอบตำแหน่ง , การสร้างกริดไลน์ , การสร้างระดับชั้น , การก็อปปี้มอนิเตอร์ ระดับชั้น กริดไลน์ , การสร้างแปลน , การสร้างแปลนฝ้า ,

Description

ตอนที่ 1.แนะนำเกี่ยวกับ แบบจำลองสารสนเทศอาคาร และการติดตั้งโปรแกรม

ตอนที่ 2.การตั้งค่าเปิดโปรแกรมเบื้องต้น อธิบายคำสั่ง และการใช้งาน systems , insert , Annotate , Analyze, Collaborate ,View , Manage , Add in , modify Properties , Project Browser , Navigator

ตอนที่ 3.หมวดเข้าสู่งานระบบท่อ หัวจ่าย หัวสปริงเกอร์ การวาง การใช้คำสั่งเขียนท่อและอุปกรณ์ เบื้องต้น

ตอนที่ 4. หมวดเข้าสู่งานระบบไฟฟ้า การใช้คำสั่งวางอุปกรณ์ การเขียนท่อไฟ เคเบิ้ลเทร เบื้องต้น

ตอนที่ 5 - Step 1 ลิ้งโมเดล ตรวจสอบตำแหน่ง

ตอนที่ 5 - Step 2 การสร้างกริดไลน์

ตอนที่ 5 - Step 3 การสร้างระดับชั้น

ตอนที่ 5 - Step 4 การก็อปปี้มอนิเตอร์ ระดับชั้น  กริดไลน์

ตอนที่ 5 - Step 5 การสร้างแปลน

ตอนที่ 5 - Step 6 การสร้างแปลนฝ้า

ตอนที่ 5 - Step 7 การตั้ง View range

ตอนที่ 5 - Step 8 การบักทึกวิวเทมเพลท

ตอนที่ 5 - Step 9 การปรับตั้ง Visibility Graphics

ตอนที่ 6-Step 1 การเปิดเทมเพลทใช้งาน

ตอนที่ 6-Step 2 การตั้งค่าระบบ Duct System

ตอนที่ 6-Step 3 การเขียนท่อ Duct Routing

ตอนที่ 6-Step 4 การตั้งค่า Filter

ตอนที่ 6-Step 5 การถอดปริมาณท่อลม เบื้องต้น

ตอนที่ 7-Step 1 การเขียนงานประปาเบื้องต้น - การวางสุขภัณฑ์

ตอนที่ 7-Step 2 การเขียนงานประปาเบื้องต้น - การเขียนท่อน้ำโสโครก และท่อน้ำทิ้ง

ตอนที่ 7-Step 3 การเขียนงานประปาเบื้องต้น - การเขียนท่อน้ำดี

ตอนที่ 7-Step 4 การเขียนงานประปาเบื้องต้น - การถอดปริมาณท่อ

ตอนที่ 8 - Step 1 การเขียนระบบดับเพลิงเบื้องต้น - การเปิดเทมเพลท การลิ้งโมเดล การทำงานร่วมกัน การวางหัวสปริงเกอร์

ตอนที่ 8 - Step 2 การเขียนระบบดับเพลิงเบื้องต้น - การดูตาราง Pipe Schedule NFPA13 , การสร้างชนิดท่อ การเขียนท่อ การถอดปริมาณ

ตอนที่ 9. การเขียนงานไฟฟ้าเบื้องต้น

ตอนที่ 10 การใส่ระยะ ตั้งค่า + การใส่แท๊ก + การทำไตเติ้ลบล๊อก

ตอนที่ 11_การใส่ Section 2D - 3D

ตอนที่ 12  การปริ้น การ Export

ตอนที่ 13 การใช้โปรแกรม Enscape

ตอนที่ 14 การใช้โปรแกรมNaviswork ในการตวจ Clash Detective

การใช้งานโปรแกรม Revit สำหรับงานระบบ ( Revit MEP)

เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาตอบสนองการใช้งานสำหรับวิศวกรงานระบบและการเขียนแบบด้านงานระบบโดยเฉพาะ ซึ่งประกอบด้วยงานด้านเครื่องกล (Mechanic) งานด้านไฟฟ้า (Electrical) และงานด้านสุขาภิบาล (Plumbing) โดยที่การสร้างโมเดลงานระบบนั้น จะอาศัยขอบเขตอาคารจากการนำไฟล์งานสถาปัตย์และงานโครงสร้างเข้ามา เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น การโมเดลงานระบบอาคารใน Revit ยังสามารถทำการวิเคราะห์ Flow และ Pressure ในท่อได้ ทำให้สามารถช่วยวิศวกรในการออกแบบระบบท่อได้สะดวกขึ้น

นอกจากนี้ Revit MEP ยังสามารถทำการโมเดลงานท่อเป็นระบบ Fabrication ได้ ทำให้สามารรู้ขนาดท่อที่จะนำไปใช้งานจริงว่าต้องใช้ท่อความยาวขนาดไหน จำนวนเท่าไหร่ และยังสามารถใส่ Hanger เพื่อทำการยึดแนวท่อกับพื้นโครงสร้างได้อีกด้วย งานโมเดลที่ออกมาจึงมีลักษณะที่ใกล้เคียงกับการทำงานจริงที่หน้างานซึ่งทำให้ผู้รับเหมาและวิศวกรที่ทำการออกแบบมองเห็นภาพที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและวิเคราะห์ปัญหาได้ทันที

ทั้งนี้โปรแกรมทั้งสามข้างต้น สามารถนำมาทำงานร่วมกันได้และสามารถใช้คำสั่งตรวจสอบความขัดแย้งในแบบ (Interference Check) ได้ เพื่อป้องกันความผิดพลาดจากการต่างคนต่างหน้าที่ออกแบบ และยังสนับสนุนการทำงานหลายคนในขณะเดียวกันในไฟล์เดียวด้วยระบบ Work sharing และ Collaboration for Revit ได้อีกด้วย

Who Should Attend!

  • วิศวกร

TAKE THIS COURSE

Tags

  • Revit

Subscribers

31

Lectures

30

TAKE THIS COURSE



Related Courses